การประเมินความรู้สึกทั้ง 8 ด้าน จะต้องให้คะแนน 10 ระดับ (0-9) โดย 0 หมายถึง มีความรู้สึกน้อยที่สุด และ 9 หมายถึง มีความรู้สึกมากที่สุด จากนั้นข้อมูลคะแนนที่ได้จะนำมาคำนวณค่าความผิดปกติ หรือความรู้สึกไม่สบาย
AI
=
โดย AI คือ ค่าดัชนีความผิดปกติ
คือ ผลรวมคะแนนจากข้อ 1, 2, 4, 5, 6, 7
คือ ผลรวมคะแนนจากข้อ 3, 8
โดยการแปลผลคะแนนดัชนีความผิดปกติที่คำนวณได้ สามารถแปลผลได้
ตาราง การแปลผลค่าดัชนีความผิดปกติ
ดัชนีความผิดปกติ
|
การแปลผล
|
AI = 0
|
ไม่มีปัญหาอะไร
|
0 < AI ≤ 2
|
มีปัญหาเล็กน้อยพอทนได้
|
2 < AI ≤ 3
|
ต้องเอาใจใส่ ระมัดระวัง
|
3 < AI ≤ 4
|
มีปัญหามากขึ้น รับไม่ได้
|
4 < AI
|
รับไม่ได้ให้แก้ไขทันที
|
ที่มา
: (อินทรานนท์, 2538)
การประเมินความผิดปกติโดยใช้แบบสำรวจ AI (อินทรานนท์,
2538)
ได้มีการนำมาใช้อย่างแพร่หลายในงานวิจัยในประเทศไทย เช่น การสำรวจอาการปวดเมื่อยของพนักงานยกติดตั้งแผ่นโซล่าเซลล์ (หงส์ทอง,
2554)
การศึกษาเพื่อลดอาการปวดหลังส่วนล่างของพนักงานแผนกขึ้นรูปแบบทรายในโรงงานผลิตขึ้นส่วนยานยนต์ (เบ้าทอง,
2551)
การศึกษาเพื่อลดความเมื่อยล้าจากการทอผ้าไหมด้วยมือ (แสงสุริยันต์, 2552)
เป็นต้น การประเมินโดยการคำนวณค่าดัชนีความผิดปกติสามารถนำมาใช้เพื่อการเปรียบเทียบผลของการปรับปรุงสถานีงานให้มีความเหมาะสมทางการยศาสตร์โดยเปรียบเทียบก่อนและหลังปรับปรุง โดยค่าของดัชนีความผิดปกติยิ่งน้อยยิ่งดี
การประเมินความรู้สึกทั้ง 8 ด้าน จะต้องให้คะแนน 10 ระดับ (0-9) โดย 0 หมายถึง มีความรู้สึกน้อยที่สุด และ 9 หมายถึง มีความรู้สึกมากที่สุด จากนั้นข้อมูลคะแนนที่ได้จะนำมาคำนวณค่าความผิดปกติ หรือความรู้สึกไม่สบาย
AI
=
โดย AI คือ ค่าดัชนีความผิดปกติ
คือ ผลรวมคะแนนจากข้อ 1, 2, 4, 5, 6, 7
คือ ผลรวมคะแนนจากข้อ 3, 8
โดยการแปลผลคะแนนดัชนีความผิดปกติที่คำนวณได้ สามารถแปลผลได้
ตาราง การแปลผลค่าดัชนีความผิดปกติ
ดัชนีความผิดปกติ
|
การแปลผล
|
AI = 0
|
ไม่มีปัญหาอะไร
|
0 < AI ≤ 2
|
มีปัญหาเล็กน้อยพอทนได้
|
2 < AI ≤ 3
|
ต้องเอาใจใส่ ระมัดระวัง
|
3 < AI ≤ 4
|
มีปัญหามากขึ้น รับไม่ได้
|
4 < AI
|
รับไม่ได้ให้แก้ไขทันที
|
ที่มา
: (อินทรานนท์, 2538)
การประเมินความผิดปกติโดยใช้แบบสำรวจ AI (อินทรานนท์,
2538)
ได้มีการนำมาใช้อย่างแพร่หลายในงานวิจัยในประเทศไทย เช่น การสำรวจอาการปวดเมื่อยของพนักงานยกติดตั้งแผ่นโซล่าเซลล์ (หงส์ทอง,
2554)
การศึกษาเพื่อลดอาการปวดหลังส่วนล่างของพนักงานแผนกขึ้นรูปแบบทรายในโรงงานผลิตขึ้นส่วนยานยนต์ (เบ้าทอง,
2551)
การศึกษาเพื่อลดความเมื่อยล้าจากการทอผ้าไหมด้วยมือ (แสงสุริยันต์, 2552)
เป็นต้น การประเมินโดยการคำนวณค่าดัชนีความผิดปกติสามารถนำมาใช้เพื่อการเปรียบเทียบผลของการปรับปรุงสถานีงานให้มีความเหมาะสมทางการยศาสตร์โดยเปรียบเทียบก่อนและหลังปรับปรุง โดยค่าของดัชนีความผิดปกติยิ่งน้อยยิ่งดี